วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560

สมาชิกการจัดการ60ห้องB

สมาชิกในชั้นเรียน

อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค     อาจารย์ปาล์ม

1.นาย เกียรติศักดิ์  เกตุอักษร     ไฟท์

2.นาย จรณะ  แท่งทอง     เปาเปา

3.นางสาว เฉลิมพร  ศรีมณี     เจล

4.นาย ชาติศิริ  รัตนชู     ติ๊บ

5.นาย ชินวัฒร์  เพ็ชรโสม     แมน

6.นาย ณฐกร  ชัยปาน     โจ

7.นาย ณัฐกร  สงสม     จ๊อบ

8.นาย ณัฐพล  วงศ์สุขมนตรี  เกมส์

9.นางสาว ทัศยีย์วรรณ  กาญจโนภาส     ษา

10.นาย ธัณวัตร  แก้วบุษบา      ธัน

11.นาย นราธร  จันทรจิตร     เนม

12.นางสาว นิชาภัทร  เพ็ชรวงศ์     แอม

13.นางสาว เบญญาทิทย์  ฆังคสุวรรณ     อ้าย

14.นางสาว ปัถยา  บุญชูดำ     ปัด

15.นาย พศวัต  บุญแท่น      อ๊อฟ

16.นางสาว แพรพลอย  พรหมประวัติ     แพรรี่

17.นาย ไฟซ้อล  ประชานิยม     ซอล

18.นาย ภูมิภัทร  สรรนุ่ม     อ้วน

19นาย ยศกร  บัวดำ    ทาย

20.นางสาว รัฐชา  วงศ์สุวรรณ   เบญ

21.นาย เรืองศักดิ์  ใหม่แก้ว    เอ็ม

22.นางสาว วลีพร  ลิขิตธีระกุล    นุ๊ก

23.นาย วาทิศ  อินทร์ปราบ      เบนซ์

24.นางสาว วิภารัตน์  ดำสุข   ออม

25.นางสาว ศศิธร  ชูปาน     จูล

26.นาย ศุภกิจ  ติเสส     ดุ๊ก

27.นาย เศรษฐชัย  ฐินะกุล     ตาล

28.นาย สราวุธ  จันทร์แก้ว   ฟิล์ม

29.นาย สุชาครีย์  งามศรีตระกูล    เบนซ์ตี๋

30.นาย สุริยา  หวันสะเม๊าะ     ดิ่ง

31.นาย อนันต์  อาแวว    นัง

32.นาย อนุวัช  นุ่นเอียด     กอล์ฟ

33.นาย.อภิชัย  เสวาริท     บอล

34.นางสาว อรอุมา  หมากปาน  ญาญ่า



























วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2560

ระบบ AS/RS

ระบบ AS/RS

ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ (Automated Storage/Retrieval System เรียกโดยย่อว่า AS/RS)  คือ  การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ

ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้
- Unit Load AS/RS
- Miniload AS/RS
- Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
- Automated Item Retrieval System
- Deep-Lane AS/RS

         องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ AS/RS
1.      โครงสร้างที่เก็บวัสดุ (Storage Structure)
2.      เครื่อง S/R (Storage/Retrieval Machine)
3.      หน่วยของการเก็บวัสดุ (Storage Module)
4.      สถานีหยิบและฝากวัสดุ (Pickup and Deposit Station)

อุปกรณ์พิเศษของระบบ AS/RS
1.      รถเคลื่อนย้ายช่องทางขนส่งวัสดุ (Aisle Transfer Car)
2.      อุปกรณ์ตรวจสอบถังบรรจุวัสดุว่างเปล่า/เต็ม
3.      สถานีวัดขนาดโหลด (Sizing Station)
4.      สถานีบ่งชี้โหลด (Load Identification Station)

การประยุกต์ใช้ระบบ AS/RS
การแยกใช้งานของระบบ AS/RS ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.      จัดเก็บและเรียกคืน Unit Load
2.      หยิบวัสดุตามสั่ง (Order picking)
3.      ระบบจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ

การจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ
1.      ใช้เก็บชุดของชิ้นงานประกอบ
2.      สนับสนุนการผลิตแบบ JIT
3.      ใช้เป็นบัฟเฟอร์สำหรับจัดเก็บวัสดุ
4.      สามารถใช้งานร่วมกันกับระบบบ่งชี้ชิ้นงานแบบอัตโนมัติ
5.      ทำให้เกิดการควบคุมและการติดตามวัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ
6.      สนับสนุนการทำให้เกิดการทำงานแบบอัตโนมัติทั้งโรงงาน

ประโยชน์ที่จะได้รับลดพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้า, ลดพื้นที่ในการขนถ่ายสินค้า, เพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินค้า, เพิ่มประสิทธิภาพในการเบิกจ่ายสินค้า, ทำงานรวดเร็ว แม่นยำ, บริหารทรัพยากรบุคคล, ประหยัดพลังงานไฟฟ้า

ข้อเสีย ของการตรวจวัดจากระยะไกล ที่เห็นได้ชัดมีอาทิเช่น
   1.  ต้องใช้ งบลงทุน ในเบื้องต้นและงบดำเนินการสูง โดยเฉพาะในการจัดหาสถานีติดตั้งและการสร้าง อุปกรณ์ตรวจวัด เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีระดับสูง
   2.  ต้องใช้ บุคลากร ที่ได้รับการฝึกฝนมาโดยเฉพาะในการดำเนินงาน เนื่องจากต้องการผู้ที่มีความรู้พื้นฐานที่ดีมากพอสำหรับการ บริหารจัดการ ระบบและการ ใช้ประโยชน์ จากข้อมูลที่ได้
   3.  ข้อมูลที่ได้บางครั้งยังขาด ความละเอียด เชิงพื้นที่มากพอ เนื่องมาจากเป็นการสำรวจจากระยะไกล   ทำให้การศึกษาในบางเรื่องอาจมีข้อจำกัดอยู่มากพอควร
   4.  ข้อมูลที่ได้บางครั้งยังมี ความคลาดเคลื่อน อยู่สูง ซึ่งเกิดมาได้จากหลายสาเหตุ ทั้งส่วนที่เกิดมาจากความบกพร่องของตัวระบบเอง และส่วนที่เกิดมาจากสภาวะแวดล้อมขณะทำการตรวจวัด






























วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม


หุ่นยนต์ คือ เครื่องจักรที่ถูกควบคุมอัตโนมัติ สามารถเขียนโปรแกรมใหม่ได้ ใช้งานเอนกประสงค์ โปรแกรมการเคลื่อนที่จะต้องสามารถโปรแกรมให้เคลื่อนที่ได้อย่างน้อย 3 แกนหรือมากกว่า หุ่นยนต์อาจจะยึดอยู่กับที่หรือย้ายตำแหน่ง (Mobile) เพื่อใช้ในงานอุตสาหกรรม


หุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด







หุ่นยนต์ หรือ โรบอต (robot) คือเครื่องจักรกลชนิด หนึ่ง มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกัน หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคุมระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์ถูกสร้างขึ้นเพื่อสำหรับงานที่มีความยากลำบาก เช่น งานสำรวจในพื้นที่บริเวณแคบหรืองานสำรวจดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ที่ไม่มีสิ่งมีชีวิต ในปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และเริ่มเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิตแตกต่างจากเมื่อก่อนที่หุ่นยนต์มักถูกนำไปใช้ ในงานอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีการนำหุ่นยนต์มาใช้งานมากขึ้น เช่น หุ่นยนต์ที่ใช้ในทางการแพทย์ หุ่นยนต์สำหรับงานสำรวจ หุ่นยนต์ที่ใช้งานในอวกาศ หรือแม้แต่หุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเล่นของมนุษย์ จนกระทั่งในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาให้หุ่นยนต์นั้นมีลักษณะที่คล้ายมนุษย์ เพื่อให้อาศัยอยู่ร่วมกันกับมนุษย์ ให้ได้ในชีวิตประจำวัน



หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์






วิทยาการหุ่นยนต์ เป็นศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบ การผลิต และการประยุกต์ใช้งานหุ่นยนต์วิทยาการหุ่นยนต์เกี่ยวข้องกับอิเล็กทรอนิกส์, กลศาสตร์, และซอฟต์แวร์
ระบบสมองกลที่ใช้ในการควบคุมการเคลื่อนที่หรือการเดินของหุ่นยนต์ในขั้นต้น คือ การเดินแบบสถิตย์ หรือการเคลื่อนที่โดยอาศัยจุดศูนย์ถ่วงที่อยู่ภายในพื้นที่ครอบคลุมบริเวณขา ทั้ง 2 ข้างของหุ่นยนต์ จากนั้นจึงเป็นการพัฒนาเป็นรูปแบบการเดินแบบจลน์หรือการเคลื่อนที่โดยอาศัย จุดศูนย์ถ่วงที่อยู่นอกพื้นที่ครอบคลุมของขาทั้ง 2 ข้างซึ่งเป็นรูปแบบการเดินของมนุษย์ตามลำดับ ซึ่งทีมวิศวกรได้ทำการศึกษาวิจัยและพัฒนาตามข้อมูลที่ทำการทดลองและจดบันทึก เป็นฐานข้อมูลจากการทดลองรูปแบบการเคลื่อนที่ของมนุษย์ทีมวิศวกรได้คำนึงถึง องค์ประกอบสำคัญ 3 อย่างในการพัฒนาหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ให้สามารถเดินได้เช่นเดียวกับมนุษย์ คือ
  1. การพัฒนาความเร็วในการเคลื่อนที่ไปด้านหน้าของหุ่นยนต์
  2. การเพิ่มเติมในระดับถัดไปของร่างกาย เช่น แขน มือและศีรษะ
  3. การพัฒนาความสามารถในการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ เช่นการก้าวเดินขึ้นลงบันได หรือการวิ่ง


วันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560

เครื่องจักร nc

 เครื่องจักร cnc
CNC เป็นคำย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมการทำงานเครื่องจักรกลอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องกัด เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องเจียระไน ฯลฯ โดยการสร้างรหัส ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือเรียกว่าโปรแกรม NC ขึ้นมาควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกล ซึ่งสามารถทำให้ผลิตชิ้นงานได้รวดเร็วถูกต้อง และเที่ยงตรง

       ข้อดีของการใช้เครื่อง CNC มีอะไรบ้าง?
  1.   มีความละเอียดในงาน ทำให้งานต่างๆ ออกมาได้มาตรฐาน
  2.   งานมีคุณภาพและเท่ากันทุกชิ้น เนื่องจากเป็นการสั่งงานโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในเครื่องจักร ทำให้งานที่ได้   เกิดความผิดพลาดได้น้อยมากๆ หรือแทบไม่มีผิดพลาดเลย                                                                                                                                               ข้อเสียของการใช้เครื่อง CNC มีอะไรบ้าง?                                                                               
  3. ตัวเครื่องมีราคาค่อนข้างสูงมาก จำเป็นต้องนำเข้าจากต่างประเทศ เพราะในประเทศไทยยังไม่สามารถผลิตเครื่องจักรชนิดนี้ได้ และค่าบำรุงรักษาเครื่องจักรมีราคาสูงมากเช่นกัน
  4. หากเครื่องมีปัญหาต้องส่งซ่อมซึ่งมีราคาค่าซ่อมสูงมาก เนื่องจากต้องใช้ผู้มีความรู้และเชี่ยวชาญในเรื่องการแก้ไขโปรแกรมพอสมควร

หลักการทำงานของเครื่องซีเอ็นซี
ครื่องซีเอ็นซี (CNC Machine) มีระบบควบคุมที่ป้อนข้อมูลโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของเครื่องผ่านแผงคีย์บอร์ด / แป้นพิมพ์ (Key Board) หรือเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เมื่อระบบควบคุมอ่านโปรแกรม และนำข้อมูลไปควบคุมการทำงานเครื่องจักรกล โดยอาศัยมอเตอร์ป้อน (Feed Motor) เพื่อให้แท่นเลื่อนเคลื่อนที่ตามคำสั่ง เช่น เครื่องซีเอ็นซี จะมีมอเตอร์ในการเคลื่อนที่อยู่ 2 ตัว หรือ เครื่องกัดซีเอ็นซี จะมีมอเตอร์ป้อน 3 ตัว โดยระบบควบคุมอ่านโปรแกรมและเปลี่ยนรหัสโปรแกรมเป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อควบคุมมอเตอร์ แต่เนื่องจากสัญญาณที่ออกจากระบบควบคุมนี้มีกำลังน้อย ไม่สามารถไปหมุนขับให้มอเตอร์ทำงานได้ จึงส่งสัญญาณผ่านภาคขยายสัญญาณของระบบขับ (Drive Amplified) และส่งสัญญาณต่อไปยังมอเตอร์ป้อนแนวแกนตามที่โปรแกรมกำหนด ทั้งความเร็วและระยะทาง การเคลื่อนที่ของแท่นเลื่อนจะถูกโปรแกรมล่วงหน้า เพื่อควบคุมเครื่องซีเอ็นซี และมีเครื่องมืออุปกรณ์ที่ตรวจสอบตำแหน่งของแท่นเลื่อนให้ระบบควบคุม เรียกว่า ระบบวัดขนาด (Measuring System) ซึ่งประกอบด้วยสเกลแนวตรง (Liner Scale) มีจำนวนเท่ากับจำนวนแนวแกนในการเคลื่อนที่ของเครื่อง ทำหน้าที่ส่งสัญญาณไฟฟ้าที่สัมพันธ์กับระยะทางที่แท่นเลื่อนเคลื่อนที่กลับไปยังระบบควบคุม


เครื่องจักร NC
 เครื่องจักร NC ( Numerical Control) จะถูกควบคุมการทํางานดวยรหัส ที่ประกอบดวยตัวเลข ตัวอักษร     และสัญลักษณอื่น ๆ ซึ่งรหัสเหลาน ี้ จะถูกแปลงใหเปนสัญญาณทางไฟฟา จากน ั้นจึงสงไป กระตุนใหอุปกรณทางไฟฟา เชนมอเตอรหรืออุปกรณอื่น ๆ ทํางาน ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ เครื่อง NC รุนแรก ๆ จะปอนรหัสผานทาง Punched Card ตอมามีการพัฒนามาเปนการปอนดวย เทปกระดาษเจาะรู ตอมาถึงยุคท ี่ คอมพิวเตอรเฟองฟูจึงนําคอมพิวเตอรมาเปนตัวปอนรหัสแทน เทป กระดาษ จึงเปนที่มาของเครื่อง CNC (Computerized Numerical Control)

 เครื่องพับโลหะแผ่นระบบ NC Thermatech hydraulic press brake ด้วยแรงกด1,350 KN สามารถพับเหล็กหนา 6 มิลลิเมตร กว้าง 3100 มิลลิเมตร และสแตนเลสแผ่นหนา 3 มิลลิเมตร กว้าง 3100 มิลลิเมตร ตัวเครื่องทำจากเหล็กโครงสร้างที่มีความแข­็งแรงสูง ทนทาน
ลักษณะการทำงานโดยทั่วไป
   ควบคุมการทำงาน 2 แกน แกน X กับ Y แกน X ใช้ในการควบคุมระยะ Backgauge (บางคนจะเรียกว่า Stopper ใช้ยันชิ้นงานโลหะแผ่น ใช้กำหนดระยะกดพับได้แม่นยำรวดเร็วไม่ต้องเสียเวลาเล็งแนวกด) ส่วนแกน Y ใช้กำหนดระยะคานมีดว่าจะกดลงมากี่ มิลลิเมตร บางรุ่นตัวควบคุมสามารถคำนวณหาค่า Y ได้อัตโนมัติเพียงป้อนข้อมูลมุมที่ต้องการจะพับโลหะ และความหนาโลหะที่จะพับ
  อาศัยแกนทอชั่นบาร์ บังคับให้คานมีดฝั่งซ้ายขวาเคลื่อนที่ขึ้นลงได้อย่างพร้อมเพียงกันป้องกันปัญหามุมชิ้นงานที่พับได้ฝั่งซ้ายขวาไม่เท่ากันได้เป็นอย่างดี







ความหมายของ DNC



Distribution Numerical Control: DNC SYSTEM คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์กลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลซึ่งในที่นี้คือ โปรแกรม NC Data กับหน่วยควบคุม NC ของเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละตัวได้เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการข้อมูลทั้งรับข้อมูล และส่งข้อมูลจำเพราะให้กับเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละเครื่องในเครือข่ายตามที่แต่ละเครื่องต้องการพร้อมๆ กันได้ในเวลาเดียวกัน

ลักษณะพิเศษของ DNC
-ควบคุมจากศูนย์กลาง
-ตั้งคอมพิวเตอร์ห่างจากเครื่องได้



คุณลักษณะมาตรฐาน Standard Features of SUPER-DNC System
          1. การเรียกโปรแกรม NC Data ที่ต้องการ โดยรับส่งโดยตรงระหว่างเครื่องจักรกลระบบ CNC กับคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ (SUB Program Calling) โดยการเรียกโดยตรงที่หน้าเครื่องจักรกลระบบ CNC

          
2. การให้บริการกระจายข้อมูลโปรแกรม NC Data ในแบบเครื่องข่ายโดยมี Server เป็นศูนย์กลางการติดต่อรับส่งข้อมูลโปรแกรม NC Data กับเครื่องจักรกลระบบ CNC ทุกเครื่องในเครือข่าย โดยมีสถานี Client Station ซึ่งเป็นสถานี Generate (สร้าง) หรือ INPUT หรือ EDIT ข้อมูลโปรแกรม NC Data เพื่อส่งเข้าสู่ Server กลางได้ (Client – Server Configuration System)
          3. การเริ่มกัดงานใหม่ต่อจากการกัดที่หยุดค้างไว้เดิม (Start Cutting from any program line) กรณีที่มีการหยุดกัดงานกลางคัน เช่น Tool สึกหรือ Tool แตก จำเป็นต้องหยุดค้างโปรแกรมไว้เพื่อเปลี่ยน Tool ใหม่ จากนั้น Software SUPER-DNC สามารถส่งต่อข้อมูลโปรแกรม NC Data ในบรรทัดต่อไปได้ โดยไม่ต้องเริ่มงานใหม่ทั้งหมด
          4. สามารถกำหนด Protocols พิเศษต่างๆ (เครื่องจักรเก่าๆ หรือที่ไม่แพร่หลายในตลาด) โปรแกรม SUPER-DNC สามารถติดต่อกับเครื่องจักรกลระบบ CNC ที่มี Protocol ที่แตกต่างกันได้อย่างหลากหลายและกว้างขวาง (Special Protocols for CNC Machines)
          5. การทำงานแบบ Auto-Search สำหรับส่ง Sub Programs หลายๆ โปรแกรมเรียงไปตามลำดับไปยังเครื่องจักรเป้าหมาย
          6. OPTION การแจ้งเตือนโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ต่างๆ (Notify User for Events such as cutting finish) เช่น เมื่อกัดงานเสร็จแล้ว หรือเกิดการหยุดกัดงานโดยไม่คาดคิด SUPER-DNC สามารถติดต่อด้วย Special GPRS Data modem เพื่อส่งแจ้งเตือนไปยังโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile phone) ด้วย E-mail หรือ SMS Message ของผู้ใช้ได้โดยอัตโนมัติเพื่อให้ผู้ใช้ทราบและดำเนินการต่อไปได้


วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เทคโนโลยีการสื่อสาร


                                 เทคโนโลยีการสื่อสาร
                           โทรทัศน์โปร่งใส 


       พานาโซนิค เปิดตัวโทรทัศน์โปร่งใส มองผ่าน ๆ นึกว่ากระจกแก้วธรรมดา ประยุกต์ใช้บนชั้นวางของได้สบาย ๆ
หลังจากที่โลกได้รู้จักการโทรทัศน์จอแบน ซึ่งเป็นอีกหนึ่งความก้าวหน้าครั้งใหญ่ในวงการผลิตโทรทัศน์ เราก็ไม่ค่อยจะได้พบเห็นการพัฒนาใด ๆ ที่น่าตื่นตาตื่นใจสักเท่าไรนัก กระทั่งการเดินทางมาถึงยุคของโทรทัศน์ "โปร่งใส" ที่บางและใสจนมองทะลุได้
       โดยวันที่ 7 ตุลาคม 2559 เว็บไซต์ sciencealert มีรายงานว่า เทคโนโลยีโทรทัศน์โปร่งใส คือเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดล่าสุดที่ พานาโซนิค ได้นำมาเปิดตัวให้โลกได้ชมกัน ภายในงาน CEATEC electronics expo ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งแม้ว่ามองผ่าน ๆ มันจะไม่ต่างกับโทรทัศน์จอแบนทั่วไป แต่เมื่อปิดเครื่องมันกลับกลายเป็นเพียงแผ่นแก้วใส ๆ ที่เราสามารถมองทะลุได้ จนสามารถนำมาทำเป็นบานกระจกบนตู้โชว์ได้ทีเดียว  

 ข้อดี  1.สามารถทำเป็นจอแบบโปร่งใส และมองเห็นได้จากทั้งสองด้าน
          2.ให้ความสว่างได้มากกว่าจอปกติ
          3.มีมุมมองกว้างถึงเกือบ 180 องศา 
          4.มีน้ำหนักเบา

ข้อเสีย  1.ฟิล์มที่ให้กำเนิดสีมีอายุการใช้งานสั้น
             2.การดูโทรทัศน์จะส่งผลให้เด็กมีกิจกรรมต่างๆน้อยลง เช่น  การออกไปเล่นนอกบ้าน การจับสิ่งของอื่นๆ ทำให้กล้ามเนื้อไม่ได้ทำงานอย่างเต็มที่ตามช่วงวัย

ผลกระทบ 
- ผลกระทบต่อตนเอง  1. จะมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นในครอบครัวน้อยลง
                                     2.มีโลกส่วนตัวสูง  

- ผลกระทบต่อสังคม  1. การรับรู้ความรุนแรงผ่านทางสื่อซ้ำแล้วซ้ำเล่าเป็นเวลานานๆ จะทำให้เด็กชาชินไปกับความรุนแรง และขาดความเอื้ออาทรต่อบุคคลอื่นในชีวิตจริง และอาจแสดงออกถึงความก้าวร้าวเมื่อโตเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่  เพราะเด็กที่ใช้เวลาอยู่หน้าจอโทรทัศน์เป็นเวลานานๆ จะซึมซับสิ่งต่าง ๆ ที่เห็น รายการต่าง ๆ ในโทรทัศน์จะเป็นแม่แบบ สร้างค่านิยม ทัศนคติ หล่อหลอมเด็ก หากพ่อแม่ไม่มีเวลาคอยสอนหรือชี้แนะ









วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

วิชา คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

เนื้อหาประจำวิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

บทที่1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่2 การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในงานอุตสากรรม
บทที่3 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่4 ระบบประมวลผล
บทที่5 เครื่องจักรกลNC
บทที่6 หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
บทที่7 ระบบการขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ
บทที่8 ระบบการจัดเก็บและเรียกคนวัสดุอัตโนมัติ
บทที่9 PLC/PC
บทที่10 คอมพิวเตอร์กับงานผลิต

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว
    
ชื่อ นาย ยศกร บัวดำ
ชื่อเล่น ชื่อทาย
รหัส  606705068

ที่อยู่ 13 ม.4 ต.คลองหรัง
อ.นาหม่อม จ.สงขลา 90310
เบอร์โทรศัพท์ 0612404063
จบมาจาก วิทยาลัยเทคนคหาใหญ่
มาศึกษาต่อ ณ มหาวิทยยาลัยราชภัฏสงขลา
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
สาขาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม 

สมาชิกการจัดการ60ห้องB

สมาชิกในชั้นเรียน อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค     อาจารย์ปาล์ม 1.นาย เกียรติศักดิ์  เกตุอักษร     ไฟท์ 2.นาย จรณะ  แท่งทอง     เปาเปา 3...